1. เมื่อเปิดบริการ Cloud VPS SSD (Enterprise) จะได้รับข้อมูลการตั้งค่า IP Address และ ข้อมูล Login Root ทางอีเมลที่ใช้ทำการลงทะเบียนสั่งซื้อบริการ ซึ่งต้องนำไปชี้ DNS ที่ Domain ใช้งานในปัจจุบัน เพื่อเป็นการเชื่อมต่อระหว่าง "Domainname" และ "VPS" เข้าด้วยกัน กรณีที่ยังไม่ได้รับให้ทำการสร้าง VPS Server ด้วยตนเองที่ https://my.thaidatahosting.com/knowledgebase/251/Create-VPS-Server----VPS-Server.html -ในกรณีที่ Domainname และ VPS ของท่านอยู่ที่ Thaidatahosting ทางเราจะทำการตั้งค่าต่างๆ ให้ - และกรณีที่ Domainname ของท่านอยู่กับผู้ให้บริการรายอื่น หากท่านไม่สะดวกในการตั้งค่า DNS สามารถแจ้งข้อมูลการใช้งาน Control Panel สำหรับจัดการ Domainname มาให้ทางเราช่วยตั้งค่า DNS ให้ได้ หรือ ทำ DNS ใช้เองด้วย Cloudflare หรือ การสร้าง Name Servers เป็นชื่อโดเมนเนมของตนเอง2. หากท่านสั่งซื้อ DirectAdmin ท่านสามารถเข้าใช้งานระบบ DirectAdmin ได้ที่ http://IPAddress:2222 และ Login ได้ตามข้อมูลการใช้งานที่ได้จัดส่งไปยังอีเมลของท่าน3. สามารถจัดการ DirectAdmin เองได้ (เฉพาะ admin เท่านั้น) - การสร้าง User ใหม่ใน DirectAdmin - วิธีแก้ไขเข้า File Manager (DA) แล้วช้าหรือ Session Timeout - การ Backup & Restore ข้อมูลผู้ใช้บน DirectAdmin - การดูรหัส da_admin สำหรับจัดการฐานข้อมูลลูกค้าใน Server - การตั้งค่า Default Webmail ให้ DirectAdmin - การปรับแต่ง Apache performance สำหรับ DA - Compile Apache (DirectAdmin Custombuild) - DirectAdmin ERROR: Connection dropped by IMAP server - Firewall สำหรับ DirectAdmin Custom build 2 - การปิด url ชั่วคราวของ DirectAdmin - คำสั่งสำหรับทำการ Optimize MySQL Database ใน DirectAdmin - ปิด Directadmin ไม่ให้ตรวจสอบ IP - ลบอีเมล์ทั้งหมดจาก mail queue directadmin - วิธีการติดตั้ง MEMCACHE สำหรับ DIRECTADMIN - วิธีการบำรุงรักษา MYSQL : CHECK, REPAIR & OPTIMIZE ALL TABLES IN ALL DATABASES - วิธีติดตั้ง Clamav + Auto scan เพื่อสแกนไวรัสบน Directadmin - วิธีติดตั้ง SSL ให้ Directadmin ใช้งาน https - แก้ไขเว็บแสดงข้อความ APACHE IS FUNCTIONING NORMALLY4. สามารถใช้งาน DirectAdmin ได้ทุกเมนู (ใช้ได้ทั้ง user และ admin) - การ Backup ข้อมูลเว็บไซต์ด้วยตนเอง - การ SET PERMISSION หรือ CHMOD ของไฟล์และไดเรคทอรี่ (FILEZILLA) - การตั้งค่า Spamassassin เพื่อป้องการสแปม - การติดตั้ง WordPress ด้วยระบบอัตโนมัติ - การลบไฟล์ที่เป็นตัวส่งสแปมออก Spam / Mulware - การสร้าง FTP - การสร้าง SUBDOMAIN ในเว็บไซต์ - การสร้างฐานข้อมูล MYSQL (CREATE DATABASE) - การอัพโหลดไฟล์ไปยังเซิร์ฟเวอร์ด้วยโปรแกรม Filezilla (FTP) - การเข้าถึงหน้าจัดการเว็บโฮสติ้ง (HOSTING PANEL) - การเปิดใช้งานตัวบันทึกสถิติของเว็บไซต์ : SITE SUMMARY/STATISTICS/LOGS - การเพิ่ม Domain Pointer - การเพิ่มโดเมนเนมอื่น(MULTIDOMAIN) ในบัญชีเดียว - การแตกไฟล์(Extract) ZIP บน Web Hosting - ตั้งค่าเพื่อใช้ PUT, PATCH, DELETE - วิธีการปัญหา FTP แจ้ง Response: 421 Too many connections from this IP - วิธีกำหนดให้ Browser แสดงหน้าเว็บไซต์เป็น Encoding ตามที่ต้องการโดยใช้ไฟล์ .htaccess - วิธีตั้งค่าเพื่อให้ Connect Database ได้จากภายนอก - เปิดใช้งาน SSL ฟรีง่าย ๆ ด้วย Let's Encrypt5. สามารถตั้งค่า Linux/CentOS ได้เอง - การเข้าใช้งาน PuTTY - การเข้าใช้งานด้วย Terminal - การตั้งค่าวันเวลา Date/Time สำหรับ CentOS - Automatically purge inbox and other IMAP folders - How to purge the Maildir inbox for all system accounts: /home/user/Maildir - Named is not reloading correctly when I add a domain - No space left on device - Setting up webmail.domain.com as default for new domains - การติดตั้ง NetHogs บน CentOS - การติดตั้ง VMware Tools EXSi บน CentOS - การติดตั้ง xcache สำหรับ php 5.3 ขึ้นไป - การอัพเดท OpenSSL บน CentOS เพื่อแกรอยรั่ว Heartbleed - การเปลี่ยน IP Address สำหรับเครื่องเซิร์ฟเวอร์ CentOS - การเปิด Apache Server Status - การเปิด Slow Query log MySQL Server - การใช้ nano - กำหนดขอบเขตเวลาสำหรับ backup - ปิด Linux SE - ป้องกันการโจมตีด้วย mod_qos - วิธีการติดตั้ง MRTG กราฟแสดงสถานะเซิร์ฟเวอร์ - วิธีการลบเมล์ที่ค้างอยู่ใน Mail Queue - วิธีตรวจสอบว่า SERVER โดนยิงด้วย NETSTAT - วิธีติดตั้ง Setup Commands บน CentOS - แก้ปัญหา Warning Perl ใน Linux